วันพฤหัสบดีที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2559

Save time 5 Friday Date 12 February 2016



Diary notes.



knowledge.



เด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้
(Children with Learning Disabilities)
  • เรียกย่อๆ ว่า L.D. (Learning Disability)
  • เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้เฉพาะอย่าง
  • ไม่นับรวมเด็กที่มีปัญหาเพียงเล็กน้อยทางการเรียน เด็กที่มีปัญหาเนื่องจากความพิการ หรือความบกพร่องทางร่างกาย
สาเหตุ
 ความผิดปกติของการทำงานของสมอง ที่ไม่สามารถถอดรหัสตัวอักษรออกมาได้ (เชื่อมโยงภาพตัวอกษรเข้ากับเสียงไม่ได้)
 กรรมพันธุ์

     1. ด้านการอ่าน (Reading Disorder)
         - อ่านหนังสือช้า ต้องสะกดทีละคำ
         - อ่านออกเสียงไม่ชัด ออกเสียงผิด หรืออาจข้ามคำที่อ่านไม่ได้ไปเลย
         - ไม่เข้าใจเนื้อหาที่อ่าน หรือจับใจความสำคัญไม่ได้

     ลักษณะของเด็ก L.D. ด้านการอ่าน
       อ่านช้า อ่านคำต่อคำ ต้องสะกดคำถึงจะอ่านได้
       อ่านออกเสียงไม่ชัด
       เดาคำเวลาอ่าน
       อ่านข้าม อ่านเพิ่มคำ อ่านผิดประโยคหรือผิดตำแหน่ง
       อ่านโดยไม่เน้นคำ หรือเน้นข้อความบางตอน
       ผันเสียงวรรณยุกต์ไม่ได้
       ไม่รู้ความหมายของเรื่องที่อ่าน
       เล่าเรื่องที่อ่านไม่ได้ จัยใจความสำคัญไม่ได้

      1. ด้านการอ่าน (Reading Disorder)
         - อ่านหนังสือช้า ต้องสะกดทีละคำ
         - อ่านออกเสียงไม่ชัด ออกเสียงผิด หรืออาจข้ามคำที่อ่านไม่ได้ไปเลย
         - ไม่เข้าใจเนื้อหาที่อ่าน หรือจับใจความสำคัญไม่ได้

     ลักษณะของเด็ก L.D. ด้านการอ่าน
       อ่านช้า อ่านคำต่อคำ ต้องสะกดคำถึงจะอ่านได้
       อ่านออกเสียงไม่ชัด
       เดาคำเวลาอ่าน
       อ่านข้าม อ่านเพิ่มคำ อ่านผิดประโยคหรือผิดตำแหน่ง
       อ่านโดยไม่เน้นคำ หรือเน้นข้อความบางตอน
       ผันเสียงวรรณยุกต์ไม่ได้
       ไม่รู้ความหมายของเรื่องที่อ่าน
       เล่าเรื่องที่อ่านไม่ได้ จัยใจความสำคัญไม่ได้

      1. ด้านการอ่าน (Reading Disorder)
         - อ่านหนังสือช้า ต้องสะกดทีละคำ
         - อ่านออกเสียงไม่ชัด ออกเสียงผิด หรืออาจข้ามคำที่อ่านไม่ได้ไปเลย
         - ไม่เข้าใจเนื้อหาที่อ่าน หรือจับใจความสำคัญไม่ได้

     ลักษณะของเด็ก L.D. ด้านการอ่าน
       อ่านช้า อ่านคำต่อคำ ต้องสะกดคำถึงจะอ่านได้
       อ่านออกเสียงไม่ชัด
       เดาคำเวลาอ่าน
       อ่านข้าม อ่านเพิ่มคำ อ่านผิดประโยคหรือผิดตำแหน่ง
       อ่านโดยไม่เน้นคำ หรือเน้นข้อความบางตอน
       ผันเสียงวรรณยุกต์ไม่ได้
       ไม่รู้ความหมายของเรื่องที่อ่าน
       เล่าเรื่องที่อ่านไม่ได้ จัยใจความสำคัญไม่ได้

      2. ด้านการเขียน (Writing Disorder)
          - เขียนตัวหนังสือผิด สับสนเรื่องการม้วนตัวอักษร เช่น จาก ม เป็น น หรือจาก ภ เป็น ถ เป็นต้น
          - เขียนตามการออกเสีย เช่น ประเภท เป็น ประเพด
เขียนสลับ เช่น สถิติ เป็น สติถิ

      ลักษณะของเด็ก L.D. ด้านการเขียน
        ลากเส้นวนๆ ไม่รู้ว่าจะม้วนหัวเข้าในหรือออกนอก ขีดวนๆ ซ้ำๆ
        เรียงลำดับอักษรผิด เช่น สถิติ เป็น สติถิ
        เขียนพยัญชนะหรือตัวเลขสลับกัน เช่น ม-น , ภ-ถ , ด-ค , b-d , p-q , 6-9
        เขียนพยัญชนะไทย ก-ฮ ไม่ได้ แต่บอกให้เขียนเป็นตัวๆ ได้
        เขียนพยัญชนะ หรือ ตัวเลขกลับด้าน คล้ายมองจากกระจกเงา
        เขียนคำตามตัวสะกด เช่น เกษตร เป็น กะเสด

      3. ด้านการคิดคำนวณ (Mathematic Disorder)
          - ตัวเลขผิดลำดับ
          - ไม่เข้าใจเรื่องการทดเลขหรือการยืมเลขเวลาทำการบวกหรือลบ
          - ไม่เข้าใจหลักเลขหน่วย สิบ ร้อย
          - แก้โจทย์ปัญหาเลขไม่ได้

      ลักษณะของเด็ก L.D. ด้านการคำนวณ
        ไม่เข้าใจค่าของตัวเลข เช้น หลักหน่วย สิบ ร้อย พัน หมื่นเป็นเท่าใด
        นับเลขไปข้างหน้าหรือถอยหลังไม่ได้
        คำนวณบวก ลบ คูณ หารด้วยการนับนิ้ว
        จำสูตรคูณไม่ได้
        เขียนเลขกลับกัน เช่น 13 เป็น 31
        ทดหรือยืมไม่เป็น
        ตีโจทย์เลขไม่ออก
        คำนวณเลขจากซ้ายไปขวา แทนที่จะทำจากขวาไปซ้าย
        ไม่เข้าใจเรื่องเวลา

       4. หลายด้านรวมกัน

อาการที่มักเกิดร่วมกับ L.D.

 แยกแยะขนาดสีและรูปร่างไม่ออก
 มีปัญหาความเข้าใจเกี่ยวกับเวลา
 เขียนหรืออ่านตัวอักษรสลับซ้าย - ขวา
 งุ่มง่าม การประสานสัมพันธ์ของกล้ามเนื้อไม่ดี
 การประสานงานของสายตา - กล้ามเนื้อไม่ดี
 สมาธิไม่ดี (เด็ก LD ร้อยละ 15 - 20 มีสมาธิสั้น ADHD ร่วมด้วย)
 เขียนตาแบบไม่ค่อยได้
 ทำงานช้า
 การวางแผนงานและจัดระบบไม่ดี
 ฟังคำสั่งสับสน
 คิดแบบนามธรรมหรือคิดแก้ปัญหาไม่ค่อยดี
 ความคิดสับสนไม่เป็นขั้นตอน 
 ความจำระยะสั้นหรือยาวไม่ดี
 ถนัดซ้ายหรือถนัดทั้งซ้ายและขวา




ออทิสติก
(Autistic)

  • หรือออทิซึ่ม (Autism)
  • เด็กที่ไม่สามารถมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น
  • ไม่เข้าใจคำพูด ความรู้สึกและความต้องการของผู้อื่น
  • ไม่สามารถสื่อสารกับคนรอบข้างและสังคม
  • มีเอกลักษณ์ของตนเอง
  • ติดตัวเด็กไปตลอดชีวิต รักษาไม่หายขาด
"ไม่สบตา ไม่พาที ไม่ชี้นิ้ว"


ลักษณะของเด็กออทิสติก
      - อยู่ในโลกของตนเอง
      - ไม่เข้าไปหาใครเพื่อให้ปลอบใจ
      - ไม่เข้าไปเล่นในกลุ่มเพื่อน
      - ไม่พูด
      - เคลื่อนไหวแบบซ้ำๆ

ตารางเปรียบเทียบลักษณะระหว่างเด็กปกติกับเด็กออทิสติก

เกณฑ์การวินิจฉัยออทิสติก องค์การอนามัยโลกและสมาคมจิตแพทย์อเมริกา


          หมายเหตุ  พบความผิดปกติ 1 ด้าน ก่อนอายุ 3 ขวบ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น